เทรด มันไม่ง่ายที่จะทำให้คนจำนวนมากทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายเดียวกัน เมื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์การประท้วงนั้นมีสาเหตุหลายประการที่ผู้คนเลือกที่จะไม่เข้าร่วม เช่น ที่ที่มีการประท้วงนั้นไกลจากบ้าน อากาศร้อนเกินไป บางคนคิดว่ามันอันตรายสำหรับเขา และก็คิดว่ามันน่าเบื่อ /1
มีอีกปัญหาที่น่าสนใจ ลองจินตนาการดูเมื่อการประท้วงสำเร็จ คนไทยได้ประชาธิปไตยมา ประชาธิปไตยจึงกลายเป็นสินค้าสาธารณะ (public goods) เพราะว่าเป็นสิ่งที่ทุกคนแบ่งปันใช้ร่วมกันได้ ถึงแม้ว่าบางคนไม่ได้ช่วยให้ได้มาเลยก็ตาม /2
ถ้าอย่างนั้นคนจะไปประท้วงทำไม ในเมื่อนั่งอยู่บ้านก็ได้ ไม่ต้องทำอะไรและรอยินดีเมื่อ/ถ้าหากการประท้วงประสบความสำเร็จ สิ่งนี้เรียกว่า collective action problem (ปัญหาจากการไม่มีส่วนร่วมของสังคม) หรือ free rider problem (ปัญหาจากคนที่ไม่ลงทุนลงแรงหรือกระทำเพื่อส่วนรวม) /3
การเอาชนะปัญหา collective action problem คือสิ่งที่ทุกๆการประท้วงต้องบรรลุ สมัยเสื้อแดง คุณณัฐวุฒิ ใสเกื้อบ่นเรื่อง "เสื้อแดงหลังตู้เย็น” ก็คือ คนที่สนับสนุนคนเสื้อแดงจริง ๆ แต่อยู่บ้านแทนที่จะไปร่วมม็อบ /4
แล้วจะทำอย่างไรเพื่อเอาชนะปัญหา collective action problem? อันดับแรกต้องเข้าใจพฤติกรรมมนุษย์ ผู้คนทำ cost/benefit analysis (การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์) เมื่อตัดสินใจทำอะไรบางอย่าง พวกเขาจะร่วม หากต้นทุนลดลง วิธีหนึ่งในการลดต้นทุนคือการจัดหาการขนส่งให้พวกเขา /5
เสื้อแดงทำสิ่งนี้ได้ดีมาก โดยการใช้รถบัสนำคนเข้ากรุงเทพ ซึ่งไม่ได้ผิดอะไร ไม่ได้เป็นการขี้โกงแต่อย่างใด และไม่ได้หมายความว่าผู้ประท้วงเหล่านั้นโดนจ้างมาร่วมม็อบ แต่ถ้ามันช่วยในการเคลื่อนไหว ก็ควรทำทุกอย่างเท่าที่จะทำได้เพื่อช่วยให้ผู้คนออกมาเข้าร่วม /6
ผู้คนสามารถเลือกสถานที่ที่สะดวกสำหรับพวกเขาได้ ถ้าการเดินทางไปอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยหรือรัฐสภานั้นลำบาก สำหรับผมการประท้วงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในปีที่แล้วอยู่ตรงแยกที่มีผู้คนรถราพลุกพล่าน เช่น ราชประสงค์ ลาดพร้าว และวงเวียนใหญ่ ซึ่งอยู่ใกล้รถไฟฟ้า BTS / MRT ด้วย /7
นอกเหนือจากการลดต้นทุน ผู้คนสามารถเพิ่มผลประโยชน์ในการเข้าร่วมประท้วงได้อีกด้วย เช่น การสร้างความบันเทิงในการประท้วง การแจกของฟรี เช่น สติกเกอร์ เป็นต้น เป็นสิ่งที่ขบวนการไทยทำได้ดี แต่สามารถปรับปรุงได้ สิ่งสำคัญที่สุดคือการปรับเปลี่ยนสิ่งต่างๆอยู่เสมอเพื่อไม่ให้น่าเบื่อ /8
การเอาชนะปัญหา collective action problem โดยการลดต้นทุนและเพิ่มผลประโยชน์เป็นเรื่องเกี่ยวกับการโน้มน้าวสมองส่วนที่มีเหตุมีผลของคน แต่คนเราก็ไม่ได้มีเหตุมีผลเต็ม 100% /9
ดังนั้นพวกเขาสามารถถูกโน้มน้าวได้ด้วยอารมณ์ความรู้สึก เช่น ความโกรธ ความกลัว ความผิด ความภักดีและอื่น ๆ ซึ่งอาจเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้คนอยากออกมาร่วมม็อบ /10
สุดท้าย การชวนคนอื่นมาเข้าร่วมเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มนั้นเกี่ยวกับ อัตลักษณ์ร่วม (collective identity)
ซึ่งอาจเป็นปัญหาหาก identity ของผู้คนไม่รวมอยู่ด้วย เช่น หากการประท้วงมีรูปแบบและวิธีการที่เข้าถึงกลุ่มเยาวชนง่ายกว่า ซึ่งผู้สูงอายุอาจรู้สึกอึดอัดในการเข้าร่วม /11
และหากการประท้วงส่วนใหญ่เป็นคนชั้นกลาง ชาวบ้านอาจจะรู้สึกเหมือนไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการประท้วง ฯลฯ ดังนั้น เป้าหมายคือการสร้าง collective identity ที่แข็งแกร่งซึ่งสามารถเชื้อเชิญผู้คนหลากหลายประเภทให้ได้มากที่สุด /12
สรุป: เพื่อทำให้การประท้วงมีโอกาสที่จะประสบความสำเร็จ การเคลื่อนไหวควรลดต้นทุนในการเข้าร่วม เพิ่มผลประโยชน์ของการเข้าร่วม สื่อสารกับผู้คนด้วยอารมณ์ความรู้สึก และสร้างอัตลักษณ์ร่วมที่เชื้อเชิญผู้คนให้เข้าร่วมมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ /13
สิ่งพวกนี้ไม่มีอะไรง่าย แค่การนัดรวมตัวเพื่อน 6 คนไปกินข้าวเย็นด้วยกันยังยากเลย การรวมตัวกันของคนแสนกว่าคนเพื่อต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยนั้นค่อนข้างเป็นไปไม่ได้ แต่บางครั้งในประวัติศาสตร์มันก็เกิดขึ้นได้ ซึ่งก็คุ้มค่าที่จะลอง /14
แม้ว่ามันอาจจะล้มเหลว แต่ก็ไม่มีอะไรน่าเสียดาย และจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจที่ได้ทำ ได้พบเพื่อนใหม่ๆ ได้สร้างความทรงจำร่วมกันที่จะมองย้อนกลับไปเมื่อยามที่อายุมากขึ้น
ส่วนคนที่อยู่ที่บ้านที่ไม่ได้ทำอะไร ก็จะไม่มีอะไร /จบ

• • •

Missing some Tweet in this thread? You can try to force a refresh
 

Keep Current with James Buchanan จิมมี่

James Buchanan จิมมี่ Profile picture

Stay in touch and get notified when new unrolls are available from this author!

Read all threads

This Thread may be Removed Anytime!

PDF

Twitter may remove this content at anytime! Save it as PDF for later use!

Try unrolling a thread yourself!

how to unroll video
  1. Follow @ThreadReaderApp to mention us!

  2. From a Twitter thread mention us with a keyword "unroll"
@threadreaderapp unroll

Practice here first or read more on our help page!

More from @JBuchananBKK

19 Feb
Thread: This article claims that the "Tatmadaw has so far refrained from a trademark bloody crackdown in a clear sign of new thinking and tactics". But there's a glaring error in this analysis - it's ahistorical and there's nothing "new" happening (yet)
asiatimes.com/2021/02/why-my…
Protests in 1988, in what's known as the "8888" uprising, began as early as 13 March, reaching their peak in August. And the brutal crackdown didn't come until 18-21 September. /2
This means the military tried to wait out the protests for around six months, and even endured well over a month of very large scale protests before deciding enough was enough and launching what would become their "trademark bloody crackdown". /3
Read 8 tweets
1 Feb
Thread: Burma's coup leader and new dictator, Min Aung Hlaing was one of "Prem's children" (ลูก ”ป๋า”), meaning he had a close relationship with the now deceased Thai elder statesman, who was the central architect of Thailand's royalist-military establishment. #รัฐประหาร ImageImage
You could say that Prem was like a godfather to the Burmese general.

Another interesting Thai-Burma connection, at least symbolically, is the powerful local political godfather, Newin Chidchob, of Buriram Province. #รัฐประหาร
Newin is the de facto leader of the Bhumjaithai Party, who are key coalition allies of the pro-military government, led by former coup leader and dictator Prayut Chan-o-cha. #รัฐประหาร
Read 6 tweets
1 Feb
Thread: the disconnect between many Thais and their government is clear. While Deputy PM Prawit refused to condemn the #BurmaCoup, saying it is their business, Thai pro-democracy groups quickly organised a #StandWithMyanmar protest near the Myanmar embassy today. #รัฐประหาร
Thailand has suffered two coups in recent memory (2006 & 2014), and is one if the most coup-prone countries in the world. This disconnect between people and governments is often felt in ASEAN. The ASEAN organisation will almost certainly echo Gen. Prawit's statement that...
...the coup is Myanmar's internal matter. This is why it's important for Southeast Asian civil society to think and act regionally, in solidarity and cooperation with progressives in other ASEAN countries. They can, to an extent, do the work their ASEAN leaders are failing to do.
Read 7 tweets
23 Oct 20
Thread: Some remarkable scenes from the king and queen's appearance with the (presumably carefully selected) public at the palace area this evening. The king was introduced to a man who recently made headlines for standing among youth protesters holding a royal portrait. /1
The king thanked him, touched him on the shoulder and said he was very brave. The king also gave a friendly greeting to a man who appears to be Buddha Issara, touching him several times and whispering in his ear. /2
Buddha Issara is a former monk who led a radical faction of the royalist-nationalist PDRC protest in 2014. He was then defrocked for a number of crimes, including firearms offences and misuse of royal insignia. He recently vowed to rally supporters to "defend the monarchy" /3
Read 9 tweets
22 Oct 20
Thread: last year I wrote an article arguing that the era of red versus yellow isn't over in Thailand. This picture was taken about a week ago, on the 14th October. /1
The things that separated the red and yellow shirts a decade ago were different ideas about representative democracy, equality under the law, the supremacy of the constitution and the role of the monarchy and military in Thailand. /2
The younger generation grew up watching this struggle take place and were so sickened by the behaviour of the "yellow" side, that they turned completely against them, rejecting their royalist-nationalist, undemocratic vision of Thailand. /3
Read 5 tweets
22 Oct 20
เทรด: ปีที่แล้วผมเขียนบทความว่ายุคเหลืองแดงในไทยยังไม่จบ รูปนี้ถ่ายไว้ประมาณอาทิตย์ก่อน ช่วงวันที่ 14 ตุลา /1
สิ่งที่แยกเหลืองแดงจากกันเมื่อสิบปีที่แล้ว คือแนวความคิดเรื่องผู้แทน ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรธน. และบทบาทของราชวงศ์และทหารในประเทศไทย /2
คนรุ่นใหม่เติบโตมาโดยที่ต้องคอยดูการต่อสู้นี้เกิดขึ้น และเกิดความรู้สึกแย่กับพฤติกรรมของฝ่าย “เหลือง” ก็เลยต่อต้านขึ้นมาแบบสุดใจ ปฏิเสธรอยัลลิสต์ และความไร้ประชาธิปไตยของไทย /3
Read 5 tweets

Did Thread Reader help you today?

Support us! We are indie developers!


This site is made by just two indie developers on a laptop doing marketing, support and development! Read more about the story.

Become a Premium Member ($3/month or $30/year) and get exclusive features!

Become Premium

Too expensive? Make a small donation by buying us coffee ($5) or help with server cost ($10)

Donate via Paypal Become our Patreon

Thank you for your support!

Follow Us on Twitter!